logo

ข้อเสนอผ่าทางตัน ‘สังคมสูงวัย-เด็กเกิดน้อย’ ปรับกลไกการเงิน-ลดผ่าคลอดไม่จำเป็น

สังคมสูงวัยและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร สัมพันธ์โดยตรงกับทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะประเทศไทยที่กำลังเผชิญวิกฤตการณ์ ‘เด็กเกิดน้อย’ อันจะนำไปสู ...อ่านต่อ


15 ปี HITAP 15 การทำงานเด่น (part3) 5 งานผลงานระดับชาติและนานาชาติ

วันที่ 20 ตุลาคมที่ผ่านมาถือเป็นวันการดูแลสุขภาพอิงหลักฐานโลก หรือ World evidence-based healthcare day ที่มีขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการใช้หลักฐานเ ...อ่านต่อ


15 ปี HITAP 15 การทำงานเด่น (part1) 5 ผลงานในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพื่อคนไทยทุกคน

วันที่ 20 ตุลาคมถือเป็นวันการดูแลสุขภาพอิงหลักฐานโลก หรือ World evidence-based healthcare day ที่มีขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงการใช้หลักฐานเชิงประจัก ...อ่านต่อ


สิทธิประโยชน์ใหม่ปี 2565 งานวิจัยมีส่วนช่วยอย่างไรบ้าง?

โลกที่ว่าเปลี่ยนเร็วแล้ว โรคภัยไข้เจ็บอาจเปลี่ยนเร็วกว่า เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี สิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจึงต้องมีการพัฒนาอ ...อ่านต่อ


เปิดงานวิจัยประเมินวัคซีนโควิด-19 “วัคซีนดีที่สุดเป็นอย่างไร ใครได้ก่อนช่วยควบคุมโรคได้”

วัคซีนโควิด-19 มาถึงแล้ว สิ่งสำคัญในตอนนี้คือจะจัดการอย่างไรให้วัคซีนเกิดประโยชน์สูงสุด ย้อนกลับไปตั้งแต่ช่วงโควิด-19 เริ่มระบาด HITAP ได้เริ่มทำงานวิ ...อ่านต่อ


มองผ่านงานวิจัย “สุขภาพเด็กไทย 2019” อยู่ตรงไหน?

มีคำกล่าวที่ว่า เด็กคืออนาคตของชาติ อนาคตของประเทศจะดีหรือแย่ขึ้นอยู่กับพวกเขา ทว่าสุขภาพของพวกเขาตอนนี้เป็นอย่างไร ถูกละเลยเรื่องไหน กำลังได้รับการแก ...อ่านต่อ


ย้อนมหากาพย์วิจัย “บีวาฯ รักษาตา” เพื่อยาที่ “ถูกลง” แต่ “ดีและปลอดภัย” เท่าเดิม

คุณเชื่อไหมว่าเรานำยารักษามะเร็งมาใช้รักษาโรคตาได้ ก่อนที่ยาแต่ละชนิดจะวางขายในตลาดแต่ละประเทศ ต้องมีการขึ้นทะเบียนในข้อบ่งใช้ต่าง ๆ การใช้ยาชนิดนั้นใ ...อ่านต่อ


ความจริงต่างมุม “รักษาฟรีทำคนไทยรักษาเกินจำเป็น” จริงไหม?

“รักษาฟรีทำคนไทยใช้บริการเกินจำเป็น” กลายเป็นพาดหัวใหญ่ใส่นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทอง แต่หากค้นให้ลึกลงไป คุณจะพบว่าในช่วงเวลาใกล้เคียงก ...อ่านต่อ


“สัมภาษณ์ในงานวิจัย” จากเรื่องเล่าและบทสนทนาสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

ภาพหญิงสาวไม่พูดอะไร ถอนหายใจ หลบตาและไม่ตอบคำถาม ดูจะสื่อสารถึงบางอย่างได้มากกว่าคำพูด ความรู้สึกและความเงียบที่มีความหมายเช่นนี้ไม่อาจพบได้จากการทบท ...อ่านต่อ


“เวชศาสตร์เชิงประจักษ์” เมื่อหลักฐานพิฆาตความเชื่อบนพื้นที่ของการรักษา

หากจะกำจัด “อวิชชา” ก็มีเพียงปัญญาเท่านั้นจึงขจัดความไม่รู้ให้หมดสิ้น ความไม่รู้ในวงการแพทย์ก็เช่นกัน มีเพียงองค์ความรู้ที่ขัดเกลาผ่านงานวิจัยจนคมปลาบ ...อ่านต่อ


ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อฝ่ายสื่อสารองค์กร HITAP