logo

HITAP ร่วมมือกับกรมการแพทย์ จัดการประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในโครงการ “การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่าฯ ปัญญาประดิษฐ์ทางการแพทย์ เพื่อบรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ ในระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย”

ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อฝ่ายสื่อสารองค์กร HITAP
“เสียงที่ไร้เสียง” นโยบายด้านสุขภาพช่วยคนหูหนวกอย่างไร

“เราทุกคนจะมีความพิการอย่างใดอย่างหนึ่งถ้าเราโชคดีมากพอ” คำพูดนี้มีที่มาอย่างไร

งานทอล์กที่จะชวนทุกคนมาทำความเข้าใจคนพิการผ่านมุมมองที่คุณอาจไม่เคยนึกถึง และพาไปดูว่า ความพิการอาจอยู่ใกล้ตัวคุณมากกว่าที่คิด และจะพาทุกคนเจาะลึกไปในโลกของคนหูหนวก ถึง “พลังพิเศษ” ที่ได้มาเมื่อไม่ได้ยินเสียง และนโยบายรวมถึงโครงสร้างพื้นฐานในสังคมที่จะตอบสนองความต้องการที่ไม่เหมือนใครของคนหูหนวก รวมถึงคนพิการอื่น ๆ กับช่วงเสวนาแสดงมุมมองของฝ่ายต่าง ๆ ทั้งผู้กำหนดนโยบาย นักวิจัย สื่อ และคนพิการ

 

พร้อมพบกับ Speakers ที่จะทำให้รู้ว่าความพิการอยู่ใกล้ตัวคุณ เพื่อเข้าใจถึงคนพิการและนโยบายสุขภาพที่อาจช่วยเหลือคุณในอนาคตได้

🌟 คชรักษ์ แก้วสุราช กองบรรณาธิการเว็บไซต์ ThisAble.me สื่อของผู้พิการ

🌟 กานต์ อรรถยุกติ กรรมการสมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย

🌟 ดร. ภญ.ปฤษฐพร กิ่งแก้ว นักวิจัย HITAP งานวิจัยเกี่ยวกับนโยบายการฝังประสาทหูเทียม และการคัดกรองการได้ยินในเด็กทารกแรกเกิด

และตัวแทนจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)

 

วันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม เวลา 10:00 – 12:00 น. ที่งาน Thailand Research Expo 2022 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ห้องประชุมโลตัส คอนเวนชันเซ็นเตอร์ ชั้นที่ 22

 

ร่วมงานฟรี! พร้อมรับของที่ระลึกเพียงทะเบียน* ที่นี่

https://hitapthailand.surveysparrow.com/s/-Talk-/tt-614135?

หรือลงทะเบียนผ่าน eventpop https://www.eventpop.me/e/13290/soundless-voice

 

*ผู้ประสงค์เข้าร่วมงานภาคประชุมต้องลงทะเบียนเข้างาน Thailand Research Expo 2022 ผ่านเว็บไซต์ https://researchexporegis.com/Home

 

ดาวน์โหลดกำหนดการได้ที่นี่

26 กรกฎาคม 2565

Next post > HTAsiaLink 2022: Early Bird Registration is Open!

< Previous post HTAsiaLink 2022: Invitation to the conference and call for abstracts

Related Posts