logo

HITAP ร่วมมือกับกรมการแพทย์ จัดการประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในโครงการ “การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่าฯ ปัญญาประดิษฐ์ทางการแพทย์ เพื่อบรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ ในระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย”

ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อฝ่ายสื่อสารองค์กร HITAP
การรักษาต้องสงสัย, ไฮแทป, testing treatments, HITAP

การรักษาต้องสงสัย, ไฮแทป, testing treatments, HITAP

หนังสือ การรักษาต้องสงสัย

ชื่อผู้แต่ง : อิโมเจน อีแวนส์, เฮเซล ทอร์นตัน, เอียน ชาลเมอร์ส และพอล กลาสซิโอ

ผู้แปล : เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย

บทเสริม : นโยบายต้องสงสัย โดย ยศ ตีระวัฒนานนท์

จัดพิมพ์ : โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ

ราคาปก: 265.00 บาท

 

สั่งซื้อได้ที่นี่

ซื้อกับ สำนักพิมพ์มติชน (เฉพาะทางเว็บไซต์) คลิกที่นี่

ซื้อกับร้าน SE-ED ได้ทันที หรือสั่งซื้อทางเว็บไซต์ คลิกที่นี่

ซื้อกับร้านนายอินทร์ ได้ทันที หรือสั่งซื้อทางเว็บไซต์ คลิกที่นี่ 

 

รายละเอียด

ปกอ่อน

พิมพ์ครั้งที่ 1 : กรกฏาคม 2561

กระดาษกรีนรีด

จำนวนหน้า            318 หน้า

ขนาดหนังสือ          14.3 x 18.5 x 1.78 cm.

ISBN       9789740215141

 

เกี่ยวกับเนื้อหา

ความรู้ด้านการแพทย์สร้างคุณูประโยชน์นานัปการ  แต่ความรู้ก็เหมือนเรื่องอื่น ๆ ที่มีความไม่แน่นอน และความไม่แน่นอนนั้นอาจเป็นช่องโหว่ที่ทำให้เรามองข้ามความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่เรา “รู้ไม่หมด” เกี่ยวกับเรื่องการแพทย์ โดยเฉพาะเรื่องการรักษา ไม่ว่าจะเป็น ยา วิธีการรักษา การวิจัยด้านการแพทย์ เหตุการณ์ในอดีตหลายเรื่องเป็นเครื่องยืนยันว่า ความรู้ด้านการแพทย์ก็พลาดได้ แต่โชคดีที่ยังมีคนตั้งข้อสงสัยจึงสามารถช่วยชีวิตคนได้อีกมาก หนังสือเล่มนี้นำเสนอช่องโหว่ต่าง ๆ ที่ทำให้ความรู้ด้านการแพทย์ยังเป็นสิ่งที่เราไม่ควรเชื่ออย่างสนิทใจจนไม่กล้าตั้งคำถาม

“การรักษาต้องสงสัย” ฉบับภาษาอังกฤษเผยแพร่สู่สาธารณะเป็นครั้งแรกในปี 2549 และมีการปรับปรุงเนื้อหาขนานใหญ่ในปี 2554 เนื้อหาในเล่มซึ่งเผยแพร่ให้อ่านฟรีบนเว็บไซต์มียอดดาวน์โหลดสูงถึงกว่า 130,000 ครั้ง และมีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ แล้วร่วม 20 ภาษา  รวมทั้งฉบับภาษาไทยเล่มนี้

รู้จักการรักษาต้องสงสัย เพิ่มเติมได้ ที่นี่

 

 

19 กรกฎาคม 2561

Next post > สสส. ดันวิจัยประเมินงานสร้างเสริมสุขภาพไทย HITAP ลงนามความร่วมมือ 12 หน่วยงานวิชาการทั่วประเทศ

< Previous post สปสช.เห็นชอบสิทธิประโยชน์ 'ตรวจยีนHLA' ลดความเสี่ยงผู้ป่วยโรคลมชักแพ้ยา

Related Posts

ข่าวที่เข้าชมมากที่สุด ในรอบ 3 เดือน

ข่าวสาร HITAP ล่าสุด